มวลชีวภาพและปริมาณคาร์บอนที่สะสมของป่าเต็งรังสะแกราช จังหวัดนครราชสีมา

โดย นางสาวภาณุมาศ ลาดปาละ
หมวดหมู่
รายงานการวิจัย
ประเภทสื่อ eBook

0 (0 รีวิว)
จำนวนคงเหลือ :
Share
รายละเอียด
การศึกษาเกี่ยวกับมวลชีวภาพและปริมาณคาร์บอนของระบบนิเวศป่าไม้แต่ละประเภทมี ความสำคัญต่อการประเมินศักยภาพของป่ไม้ในการเป็นแหล่งเก็บกักคาร์บอน (Carbon sink) หรือเป็น แหล่งปลดปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ (Carbon source) ดังนั้นการศึกษาครั้งนี้จึงมีวัตถุประสงค์เพื่อ ศึกษาปริมาณมวลชีวภาพและปริมาณคาร์บอบที่สะสมของป่าเต็งรังสะแกร าช จังหวัดนศรราชสีมา ซึ่ง ดำเนินการศึกษาระหว่างปี 2546 - 2548 โดยศึกษามวลชีวภาพเหมือพื้นดิบ จากวิธีการวัดขน า เส้มผ่าศูนย์กลางที่ระดับความสูงเพียงอกและความสูงทั้งหมดของต้นไม้ที่เป็นไม้ใหญ่และไม้หนุ่มในแปลง ตัวอย่างสังคมพืชขนาด 100 x 100 ตารางเมตร เพื่อนำไปประมวลในสมการแอล โลมตรี และศึกษา มวลชีวภาพของซากพืชจากการใช้กระบะรองรับซากพืช (litter tap) และการศึกษาปริมาณคาร์บอนที่ สะสมในมวลชีวภาพของป่าเต็งรัง ซึ่งประเมินจากผลคูณของมวลชีวภาพที่คำนวณได้สมการแอลไลเมตรี และค่าความเข้มข้นของคาร์บอนที่วิเคราะห์ได้จากเครื่องมือ NC analyzer ผลการศึกษาพบว่า มวลชีวภาพของป่าเต็งรังสะแกราช มีค่าเฉลี่ย 129.802 /ha/y ซึ่งแบ่งเป็นมวล ชีวภาพเหนือพื้นดิน 89,964 tha/y และมวลชีวภาพใต้พื้นดิน 39.838 tha/y ความเข้มข้นของคาร์บอนใน เนื้อไม้มีคำเฉเลี่ย 50.56% และในซากพืชมีค่าเฉลี่ย ร2.46% ปริมาณคาร์บอนที่สะสมเฉลี่ย 65.727 IC /hay ซึ่งเป็นปริมาณคาร์บอนที่สะสมในมวลชีวภาพเหนือพื้นดินเฉลี่ย 45.585 IC /ay และในมวลชีวภาพใต้ พื้นดินเฉลี่ย 20.142 IC /hav/y

The role on biomass and carbon stock in forest ecosystem are important to estimate potential of forest ecosystem as a carbon sink or carbon source. The objective of study was to estimate biomass and carbon stock of the Dry Dipterocarp Forest at Sakerat Research station, Nakorn ratchasima province. The study was conducted during 2003 to 2005. The sampling plot size was 100 x 100 square meter. The plot was divided to 100 subplots in 10 x 10 m, 4 x 4 m.. We measured diameter and height of tree that have diameter ?4.5 cm In 10 x 10 m. plot. and tree that have diameter < 4.5 cm but height ?1.3 m in 4 x 4 m plots. The Diameter and Height was used for estimation of above ground biomass by allometry model. Furthermore we estimated of litter production by using litter trap. The estimation of carbon stock was calculated by carbon content in wood and litter. The results shown that the average biomass of Dry Dipterocarp Forest, Sakaerat was 129.802 t/ha/y including biomass of tree of 89.964 t/ha/yand biomass of saplingsof 39.838 t/ha/y. Carbon concentration in wood and litter were 50.56 and 52.46 % respectively. The average carbon stock was 65.727 tC/ha/y including carbon stock of aboveground biomass of45.584 tC/ha/y and below ground biomass of20.142 tC /ha/y
ข้อมูลเพิ่มเติม
วันที่เผยแพร่ 11/2021
สำนักพิมพ์ กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช
หมวดหมู่ รายงานการวิจัย
จำนวนหน้า 77012
People Who Read This Also Read
รีวิว
Ask OKMD AI