การศึกษากิจกรรมและสารออกฤทธิ์ทางชีวภาพของเห็ดป่ากินได้ในเขตพื้นที่จังหวัดร้อยเอ็ด

โดย อรอนงค์ ภูสีฤทธิ์
หมวดหมู่
รายงานการวิจัย
ประเภทสื่อ
eBook
0
(0 รีวิว)
จำนวนคงเหลือ
:
Share
รายละเอียด
บทคัดย่อ
วัตถุประสงค์ของงานวิจัยครั้งนี้เพื่อศึกษาข้อมูลทั่วไปเกี่ยวกับความสามารถในการเป็นอาหารเพื่อสุขภาพของเห็นป่ากินได้ในเขตพื้นที่จังหวัดร้อยเอ็ด 5 ชนิด ได้แก่ เห็ดระโงกขาว เห็ดระโงกเหลือง เห็ดตะไคล เห็ดโคน และเห็ดน้ำหมาก ในการศึกษาครั้งนี้ทำการสกัดสารด้วยตัวอย่างด้วยเมทานอล เพื่อศึกษาคุณค่างทางโภชนาการ โดยวิเคราะห์ด้วยวิธี Proximate Analysis วิเคราะห์ความสามารถในการต้านอนุมูลอิสระด้วยวิธี DPPH radical scavenging activity และวิธี Ferric reducing / antioxidant power (FRAP) assay การวิเคราะห์สารประกอบฟีนอลิคโดยใช้สารละลาย Folin-Ciocalteu วิเคราะห์สารฟลาโวนอยด์โดยรวม และศึกษาความสามารถในการต้านไกลเคชั่น จากการวิจัยพบว่า เห็ดป่าทั้ง 5 ชนิด มีปริมาณโปรตีนและปริมาณคาร์โบไฮเดรตที่ย่อยง่ายสูง มีปริมาไขมันที่ต่ำ มีปริมาณเถ้าและใยอาหารในปริมาณปลานกลาง การวิเคราะห์กิจกรรมการต้านอนุมูลอิสระของเห็ดป่า ด้วยวิธี DPPH radical scavenging activity พบว่า เห็ดระโงกขาวและเห็ดตะไคลมีความสามารถในการต้านอนุมูลอิสระโดยทดสอบด้วยวิธี DPPH assay สูงที่สุด รองลงมาคือ เห็ดระโงกเหลือง และเห็ดโคน การวิเคราะห์กิจกรรมการต้านอนุมูลอิสระด้วยวิธี Ferric reducing antioxidant power (FRAP) พบว่าเห็ดระโงกเหลือง และเห็ดน้ำหมาก มีความสามารถในการต้านอนุมูลอิสระสูงที่สุด(1.82 และ 1.73 mmol FeSo4/g DW ตามลำดับ) การวิเคราะห์สารประกอบฟีนอลิกโดยรวม โดยแบ่งเป็นการวิเคราะห์ปริมาณสารประกอบฟีนอลิกและสารประกอบฟลาโวนอยด์ พบว่าสารประกอบฟีนอลิกโดยรวมด้วยวิธี Folin Ciocalteu ในการสกัดตัวอย่างพบว่า เห็ดโคนมีปริมาณสารฟีนอลิกโดยรวมมากที่สุด รองลงมาคือเห็ดระโงกเหลือง และเห็ดระโงกขาว ตามลำดับ การวิเคราะห์หาสารประกอบฟลาโวนอยด์โดยรวมด้วยวิธี Colorimetric ในการสกัดตัวอย่างพบว่าเห็ดระโงกเหลืองมีปริมาณสารประกอบฟลาโวนอยด์โดยรวมสูงที่สุด รองลงมาคือเห็ดระโงกขาว และเห็ดตะไคล มีปริมาณสารประกอบฟลาโวนอยด์โดยรวมน้อยที่สุด การศึกษาความสามารถในการต้านปฏิกิริยาไกลเคชั่น โดยวัดความสามารถในการยับยั้งการสร้างสาร Advanced Glycation End-Products (AGEs) พบว่าเมื่อเพิ่มความเข้มข้นของสารสกัดตัวอย่างเห็ดจะทำให้ความสามารถในการต้านปฏิกิริยาไกลเคชั่นเพิ่มขึ้นในทุกตัวอย่าง และพบว่าค่า IC50 ของตัวอย่างเห็ดตะไคลมีค่าต่ำที่สุด รองลงมาคือเห็ดระโงกเหลือง ส่วนตัวอย่างเห็ดที่มีค่า IC50 สูง คือเห็ดโคน และเห็ดน้ำหมาก
บทคัดย่อ วัตถุประสงค์ของงานวิจัยครั้งนี้เพื่อศึกษาข้อมูลทั่วไปเกี่ยวกับความสามารถในการเป็นอาหารเพื่อสุขภาพของเห็นป่ากินได้ในเขตพื้นที่จังหวัดร้อยเอ็ด 5 ชนิด ได้แก่ เห็ดระโงกขาว เห็ดระโงกเหลือง เห็ดตะไคล เห็ดโคน และเห็ดน้ำหมาก ในการศึกษาครั้งนี้ทำการสกัดสารด้วยตัวอย่างด้วยเมทานอล เพื่อศึกษาคุณค่างทางโภชนาการ โดยวิเคราะห์ด้วยวิธี Proximate Analysis วิเคราะห์ความสามารถในการต้านอนุมูลอิสระด้วยวิธี DPPH radical scavenging activity และวิธี Ferric reducing / antioxidant power (FRAP) assay การวิเคราะห์สารประกอบฟีนอลิคโดยใช้สารละลาย Folin-Ciocalteu วิเคราะห์สารฟลาโวนอยด์โดยรวม และศึกษาความสามารถในการต้านไกลเคชั่น จากการวิจัยพบว่า เห็ดป่าทั้ง 5 ชนิด มีปริมาณโปรตีนและปริมาณคาร์โบไฮเดรตที่ย่อยง่ายสูง มีปริมาไขมันที่ต่ำ มีปริมาณเถ้าและใยอาหารในปริมาณปลานกลาง การวิเคราะห์กิจกรรมการต้านอนุมูลอิสระของเห็ดป่า ด้วยวิธี DPPH radical scavenging activity พบว่า เห็ดระโงกขาวและเห็ดตะไคลมีความสามารถในการต้านอนุมูลอิสระโดยทดสอบด้วยวิธี DPPH assay สูงที่สุด รองลงมาคือ เห็ดระโงกเหลือง และเห็ดโคน การวิเคราะห์กิจกรรมการต้านอนุมูลอิสระด้วยวิธี Ferric reducing antioxidant power (FRAP) พบว่าเห็ดระโงกเหลือง และเห็ดน้ำหมาก มีความสามารถในการต้านอนุมูลอิสระสูงที่สุด(1.82 และ 1.73 mmol FeSo4/g DW ตามลำดับ) การวิเคราะห์สารประกอบฟีนอลิกโดยรวม โดยแบ่งเป็นการวิเคราะห์ปริมาณสารประกอบฟีนอลิกและสารประกอบฟลาโวนอยด์ พบว่าสารประกอบฟีนอลิกโดยรวมด้วยวิธี Folin Ciocalteu ในการสกัดตัวอย่างพบว่า เห็ดโคนมีปริมาณสารฟีนอลิกโดยรวมมากที่สุด รองลงมาคือเห็ดระโงกเหลือง และเห็ดระโงกขาว ตามลำดับ การวิเคราะห์หาสารประกอบฟลาโวนอยด์โดยรวมด้วยวิธี Colorimetric ในการสกัดตัวอย่างพบว่าเห็ดระโงกเหลืองมีปริมาณสารประกอบฟลาโวนอยด์โดยรวมสูงที่สุด รองลงมาคือเห็ดระโงกขาว และเห็ดตะไคล มีปริมาณสารประกอบฟลาโวนอยด์โดยรวมน้อยที่สุด การศึกษาความสามารถในการต้านปฏิกิริยาไกลเคชั่น โดยวัดความสามารถในการยับยั้งการสร้างสาร Advanced Glycation End-Products (AGEs) พบว่าเมื่อเพิ่มความเข้มข้นของสารสกัดตัวอย่างเห็ดจะทำให้ความสามารถในการต้านปฏิกิริยาไกลเคชั่นเพิ่มขึ้นในทุกตัวอย่าง และพบว่าค่า IC50 ของตัวอย่างเห็ดตะไคลมีค่าต่ำที่สุด รองลงมาคือเห็ดระโงกเหลือง ส่วนตัวอย่างเห็ดที่มีค่า IC50 สูง คือเห็ดโคน และเห็ดน้ำหมาก
บทคัดย่อ วัตถุประสงค์ของงานวิจัยครั้งนี้เพื่อศึกษาข้อมูลทั่วไปเกี่ยวกับความสามารถในการเป็นอาหารเพื่อสุขภาพของเห็นป่ากินได้ในเขตพื้นที่จังหวัดร้อยเอ็ด 5 ชนิด ได้แก่ เห็ดระโงกขาว เห็ดระโงกเหลือง เห็ดตะไคล เห็ดโคน และเห็ดน้ำหมาก ในการศึกษาครั้งนี้ทำการสกัดสารด้วยตัวอย่างด้วยเมทานอล เพื่อศึกษาคุณค่างทางโภชนาการ โดยวิเคราะห์ด้วยวิธี Proximate Analysis วิเคราะห์ความสามารถในการต้านอนุมูลอิสระด้วยวิธี DPPH radical scavenging activity และวิธี Ferric reducing / antioxidant power (FRAP) assay การวิเคราะห์สารประกอบฟีนอลิคโดยใช้สารละลาย Folin-Ciocalteu วิเคราะห์สารฟลาโวนอยด์โดยรวม และศึกษาความสามารถในการต้านไกลเคชั่น จากการวิจัยพบว่า เห็ดป่าทั้ง 5 ชนิด มีปริมาณโปรตีนและปริมาณคาร์โบไฮเดรตที่ย่อยง่ายสูง มีปริมาไขมันที่ต่ำ มีปริมาณเถ้าและใยอาหารในปริมาณปลานกลาง การวิเคราะห์กิจกรรมการต้านอนุมูลอิสระของเห็ดป่า ด้วยวิธี DPPH radical scavenging activity พบว่า เห็ดระโงกขาวและเห็ดตะไคลมีความสามารถในการต้านอนุมูลอิสระโดยทดสอบด้วยวิธี DPPH assay สูงที่สุด รองลงมาคือ เห็ดระโงกเหลือง และเห็ดโคน การวิเคราะห์กิจกรรมการต้านอนุมูลอิสระด้วยวิธี Ferric reducing antioxidant power (FRAP) พบว่าเห็ดระโงกเหลือง และเห็ดน้ำหมาก มีความสามารถในการต้านอนุมูลอิสระสูงที่สุด(1.82 และ 1.73 mmol FeSo4/g DW ตามลำดับ) การวิเคราะห์สารประกอบฟีนอลิกโดยรวม โดยแบ่งเป็นการวิเคราะห์ปริมาณสารประกอบฟีนอลิกและสารประกอบฟลาโวนอยด์ พบว่าสารประกอบฟีนอลิกโดยรวมด้วยวิธี Folin Ciocalteu ในการสกัดตัวอย่างพบว่า เห็ดโคนมีปริมาณสารฟีนอลิกโดยรวมมากที่สุด รองลงมาคือเห็ดระโงกเหลือง และเห็ดระโงกขาว ตามลำดับ การวิเคราะห์หาสารประกอบฟลาโวนอยด์โดยรวมด้วยวิธี Colorimetric ในการสกัดตัวอย่างพบว่าเห็ดระโงกเหลืองมีปริมาณสารประกอบฟลาโวนอยด์โดยรวมสูงที่สุด รองลงมาคือเห็ดระโงกขาว และเห็ดตะไคล มีปริมาณสารประกอบฟลาโวนอยด์โดยรวมน้อยที่สุด การศึกษาความสามารถในการต้านปฏิกิริยาไกลเคชั่น โดยวัดความสามารถในการยับยั้งการสร้างสาร Advanced Glycation End-Products (AGEs) พบว่าเมื่อเพิ่มความเข้มข้นของสารสกัดตัวอย่างเห็ดจะทำให้ความสามารถในการต้านปฏิกิริยาไกลเคชั่นเพิ่มขึ้นในทุกตัวอย่าง และพบว่าค่า IC50 ของตัวอย่างเห็ดตะไคลมีค่าต่ำที่สุด รองลงมาคือเห็ดระโงกเหลือง ส่วนตัวอย่างเห็ดที่มีค่า IC50 สูง คือเห็ดโคน และเห็ดน้ำหมาก
ข้อมูลเพิ่มเติม
วันที่เผยแพร่ | 09/2021 |
สำนักพิมพ์ | มหาวิทยาลัยราชภัฏร้อยเอ็ด |
หมวดหมู่ | รายงานการวิจัย |
จำนวนหน้า | 77012 |
People Who Read This Also Read
รีวิว